设为首页 - 加入收藏  
您的当前位置:首页 >educations >มีตังค์168 สล็อต、โปรโมชั่น สล็อต、เว็บ 777 สล็อต、เกมส์ สล็อต666 正文

มีตังค์168 สล็อต、โปรโมชั่น สล็อต、เว็บ 777 สล็อต、เกมส์ สล็อต666

来源:ปทุมธานีไลฟ์เจอร์编辑:educations时间:2024-04-25 12:51:57

เป็นข่าวใหญ่เมื่อช่วงกลางดึกที่ผ่านมา (17 เม.ย. 2567) เกิดเหตุระเบิดดังสนั่นภายใน โรงงานน้ำแข็งที่ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี "แอมโมเนีย"รั่วไหลฟุ้งกระจายเป็นวงกว้าง จนทำให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บกว่า 140 ราย และต้องทำการปิดโรงงานน้ำแข็ง 3-7 วัน หลังพบว่าค่าอากาศยังเกินมาตรฐาน

 

 

"แอมโมเนีย"(Ammonia)เป็นก๊าซที่กัดกร่อนไม่มีสีที่มีกลิ่นฉุนที่โดดเด่น พบได้ทั่วไปในธรรมชาติแอมโมเนียสามารถเก็บเป็นของเหลวที่ความดันสูงและละลายได้ง่ายในน้ำ แอมโมเนียฝากตัวเองในรูปแบบเปียกและแห้งบนบกพืชดินและน้ำ

 

ทางเคมี "แอมโมเนีย" คือ NH3เมื่อไม่ได้รับไอออนและ NH4+ เมื่อแตกเป็นไอออน

 

แอมโมเนีย เป็น มลพิษทางอากาศ และสารตั้งต้นของอนุภาครอง มันรวมกับสารประกอบอื่นๆ ในชั้นบรรยากาศเช่นกรดไนตริกและซัลเฟตเพื่อสร้างเกลือแอมโมเนียมซึ่งเป็นรูปแบบที่เป็นอันตรายของอนุภาคอนุภาคละเอียด

 

 

แอมโมเนียใช้อะไร?แอมโมเนียquotอันตรายแค่ไหนหากสัมผัสจะมีอาการอย่างไรรักษายังไงมีตังค์168 สล็อต

 

นอกเหนือจากการเป็นสารมลพิษแล้วแอมโมเนียยังเป็นสารอาหารที่มีไนโตรเจนที่มีความสำคัญซึ่งผลิตโดยพืชและการสลายตัวของสัตว์รวมทั้งถูกขับออกจากสัตว์ แอมโมเนียสามารถแปลงเป็นไนไตรต์ได้ และไนเตรต โดยแบคทีเรีย ณ จุดนี้ แอมโมเนีย ได้รับการดัดแปลงเป็นสารอาหารสำหรับพืช

 

เนื่องจากคุณสมบัติที่มี ไนโตรเจน ของ "แอมโมเนีย" ทำให้แอมโมเนียที่ผลิตในเชิงพาณิชย์ 90 เปอร์เซ็นต์ใช้ในปุ๋ย แอมโมเนียยังสามารถใช้ด้วยตัวเองหรือเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดในครัวเรือนซึ่งมีประสิทธิภาพในการกำจัดน้ำมันพืชและคราบไขมันสัตว์

 

การใช้งานเชิงพาณิชย์อื่นๆ สำหรับ "แอมโมเนีย"ได้แก่

 

  • พลาสติก
  • ผ้า
  • เภสัชกรรม
  • สีย้อม
  • ยาฆ่าแมลง
  • การผลิตวัตถุระเบิด
  • เครื่องทำให้ไนโตรเจน
  • การทำให้บริสุทธิ์
  • สารทำความเย็นในเครื่องปรับอากาศ

 

 

แอมโมเนียมีผลต่อสุขภาพของมนุษย์อย่างไร?

 

การสัมผัสกับ "แอมโมเนีย" ที่มีความเข้มข้นสูงในสภาพแวดล้อมอาจทำให้เกิดการระคายเคืองต่อดวงตาจมูกและลำคอเช่นเดียวกับผิวหนัง

 

ปัญหาสุขภาพระยะยาวที่เกี่ยวข้องกับการได้รับแอมโมเนีย ได้แก่

 

  • โรคหัวใจและหลอดเลือดและระบบทางเดินหายใจรุนแรง
  • ฟังก์ชั่นปอดลดลง
  • การทำให้รุนแรงขึ้นของโรคหอบหืด
  • ความตายก่อนวัยอันควร

 

"แอมโมเนีย" ยังมีส่วนช่วยในการก่อตัวของ PM2.5 ที่เป็นอันตราย จากบันทึกทางเทคนิคปี 2011 ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิทยาศาสตร์นมแอมโมเนียสามารถสร้างอนุภาคในชั้นบรรยากาศผ่านปฏิกิริยาทางเคมีกับกรดซัลฟิวริกและกรดไนตริก 5 แอมโมเนียที่ผลิตโดยการปฏิบัติการปศุสัตว์เพียงอย่างเดียวอาจมีส่วนร่วม 5 % ถึง 20 เปอร์เซ็นต์ของ PM2.5 บรรยากาศในสหรัฐอเมริกาโดยเฉลี่ยขึ้นอยู่กับภูมิภาคและเวลาของปี

 

ความเสี่ยงต่อสุขภาพที่ร้ายแรงที่เกี่ยวข้องกับ PM2.5ผลกระทบระยะสั้น เช่น

 

  • การเผาจมูกคอและระบบทางเดินหายใจ
  • ความเหนื่อยล้า
  • การไอ
  • การระคายเคืองจมูกและลำคอ

 

 

อันตรายจากการใช้ "แอมโมเนีย" ในโรงงานทำน้ำแข็งและห้องเย็น

 

โรงงานทำน้ำแข็ง และ ห้องเย็น มักนิยมใช้ "แอมโมเนีย" เป็นสารทำความเย็นในระบบทำความเย็นเนื่องจากมีประสิทธิภาพสูงราคาถูกเมื่อเปรียบเทียบกับสารทำความเย็นประเภทคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC) และประการสำคัญคือไม่ทำลายโอโซนในชั้นบรรยากาศแต่แอมโมเนียมีสมบัติความเป็นพิษในตัวเองดังนั้นการนำมาใช้ประโยชน์จะต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษเพราะหากเกิดการรั่วไหลอาจทำให้ผู้ปฏิบัติงานในบริเวณที่มีการใช้แอมโมเนียและบริเวณใกล้เคียงได้รับอันตรายจนถึงขั้นเสียชีวิตได้

 

 

ลักษณะของแอมโมเนีย

 

"แอมโมเนีย" ที่ใช้ในระบบทำความเย็นเป็นแอมโมเนียที่ปราศจากน้ำ(Ammonia anhydrous)ทั้งที่อยู่ในสถานะที่เป็นของเหลวและก๊าซแอมโมเนียในสถานะก๊าซเป็นก๊าซที่ไม่มีสีมีกลิ่นฉุนรุนแรงมีความเป็นพิษสูงสามารถละลายน้ำได้ดีและมีฤทธิ์กัดกร่อนสูงและด้วยความสามารถในการละลายน้ำได้ดีถึงแม้ว่าแอมโมเนียจะเบากว่าอากาศ (น้ำหนักโมเลกุลของแอมโมเนีย = 17) แต่เมื่อมีการรั่วไหลเกิดขึ้นก๊าซ

 

แอมโมเนีย จะรวมตัวกับความชื้นในอากาศทำให้เกิดเป็นหมอกควันสีขาวของแอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ซึ่งจะทำให้หนักกว่าอากาศดังนั้นเมื่อแอมโมเนียรั่วไหลในอากาศจึงมีทั้ง "แอมโมเนีย" ที่เบาและหนักกว่าอากาศอยู่ปะปนกันสามารถลุกไหม้ได้ที่ช่วงความเข้มข้นของไอระเหยระหว่าง 16-25% โดยปริมาตรแอมโมเนียสามารถลุกติดไฟได้เอง(Autoignition Temperature) ที่อุณหภูมิประมาณ 650 องศาเซลเซียสแอมโมเนียที่อยู่ในภาชนะบรรจุจะอยู่ในสถานะเป็นของเหลวภายใต้ความดันประมาณ 150 ปอนด์/ตารางนิ้วที่อุณหภูมิ - 33 องศาเซลเซียส แต่ก๊าซแอมโมเนียในภาชนะบรรจุมีสถานะเป็นของเหลวซึ่งมีอัตราการขยายตัวกลายเป็นก๊าซแอมโมเนียในอัตราส่วน 1 : 850 นั่นคือแอมโมเนียเหลว 1 ส่วนหากมีการรั่วไหลออกสู่บรรยากาศจะขยายตัวเป็นก๊าซได้ 850 ส่วน

 

 

น้ำแข็ง

 

 

อันตรายจากแอมโมเนีย

 

  • ไอระเหยของแอมโมเนียทำให้เกิดการระคายเคืองและเกิดแผลไหม้ต่อระบบทางเดินหายใจทำให้มีเสมหะเกิดอาการหายใจสั้นๆเจ็บหน้าอกชักหมดสติและอาจทำให้เสียชีวิตหากหายใจเอาสารนี้เข้าไปหากสัมผัสแอมโมเนียจะทำให้ผิวหนังและตาไหม้และสูญเสียการมองเห็นและถ้าสัมผัสกับแอมโมเนียในสภาพของเหลวจะทำให้เกิดแผลไหม้เนื่องจากความเย็นจัด (Cold Burn)

 

  • เนื่องจากแอมโมเนียเป็นก๊าซพิษเมื่อเกิดการรั่วไหลจึงอาจทำให้ผู้ที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงเสียชีวิตได้อีกประการหนึ่งเนื่องจากสถิติการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุแอมโมเนียรั่วไหลพบว่ามีผู้เสียชีวิตจากสาเหตุการระบายไอของอุปกรณ์อำนวยความปลอดภัยมีโอกาสเกิดสูงกว่าการระเบิดของภาชนะบรรจุแอมโมเนียเป็นอันมากดังนั้นภาชนะหรือท่อบรรจุ(Ammonia Cylinders) จึงไม่นิยมติดตั้งกลอุปกรณ์นิรภัย (Safety Devices) ทั้งนี้เพื่อมิให้มีการระบายก๊าซออกจากภาชนะบรรจุได้โดยง่ายเมื่อมีอุณหภูมิสูงดังนั้นภาชนะบรรจุแอมโมเนียจึงอาจจะระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อนจากเพลิงไหม้เป็นเวลานานสิ่งที่สำคัญที่สุดคือหากเกิดเพลิงไหม้ใกล้กับภาชนะบรรจุแอมโมเนียการหล่อเย็น(Cooling) ที่ภาชนะบรรจุหรือการเคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุออกจากบริเวณที่เกิดเพลิงไหม้จึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งในลำดับแรกโดยทันที

 

 

อันตรายจากการสัมผัสแอมโมเนีย

 

ระดับความเข้มข้นของ "แอมโมเนีย" ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ

  • 50 ส่วนในล้านส่วนกลิ่นรุนแรงมากจนรู้สึกอึดอัด
  • 400 – 700 ส่วนในล้านส่วนแสบตาและจมูกรู้สึกระคายเคือง
  • 5000 ส่วนในล้านส่วนกล้ามเนื้อเกร็งและหายใจไม่ออกอาจเสียชีวิตได้ภายใน 2 – 3 นาที

 

 

การตรวจสอบและทดสอบภาชนะบรรจุก๊าซ

 

ภาชนะหรือท่อบรรจุก๊าซแอมโมเนียจำเป็นต้องมีการตรวจสอบสภาพและทดสอบเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการใช้งานตามข้อกำหนดใน มอก. 358 โดยดำเนินการตรวจทดสอบเกี่ยวกับ

  • ตรวจสภาพภาชนะบรรจุเกี่ยวกับการกัดกร่อนบวมบุบหรือไฟไหม้
  • ตรวจสอบการทำงานของกลอุปกรณ์นิรภัย
  • ตรวจสอบสภาพของแกนวาล์วต้องไม่เอียงและเกลียวไม่สึก
  • ตรวจหารอยรั่วบริเวณแกนวาล์ว
  • การตรวจทดสอบท่อบรรจุก๊าซโดยละเอียด

 

ทั้งนี้การดำเนินการตรวจสอบและทดสอบดังกล่าวข้างต้นสำหรับภาชนะบรรจุที่เป็นท่อบรรจุก๊าซ (Gas Cylinder) มีวิธีการทดสอบ 4 วิธีดังนี้

 

  1. ตรวจพินิจภายนอกต้องทำความสะอาดท่อพร้อมลอกสีที่ทาท่อออกเพื่อตรวจสอบการกัดกร่อนรอยบุบรอยขูดขีดการบวมและรอยไฟไหม้
  2. ตรวจพินิจภายในต้องทำความสะอาดภายในท่อด้วยลูกเหล็กจนสะอาดดีแล้วจึงใช้แสงไฟส่องเข้าไปเพื่อตรวจสอบภายในเพื่อหาการผุกร่อนหรือหลุม
  3. ชั่งน้ำหนักท่อต้องถอดอุปกรณ์ของท่อออกทั้งหมดแล้วชั่งน้ำหนักถ้าน้ำหนักน้อยกว่าร้อยละ 95 ของน้ำหนักท่อเดิมห้ามนำท่อนั้นมาใช้งาน
  4. ตรวจทดสอบโดยการอัดน้ำ(ไฮดรอลิก) ทดสอบภาชนะบรรจุก๊าซโดยการใช้น้ำทดสอบ (Hydrostatic Test) ซึ่งมี 2 วิธีคือแบบทดสอบในถังน้ำและทดสอบในแบบถังไร้น้ำความดันที่ใช้ทดสอบประมาณ 1.3 - 1.5 เท่าของความดันใช้งานสูงสุดจากนั้นตรวจหารอยรั่วการบวมและการขยายตัวถาวรของท่อ (Permanent Expansion Test)

 

 

การป้องกันอันตรายจากแอมโมเนีย

 

  • ภาชนะบรรจุหรือระบบท่อส่งก๊าซแอมโมเนียต้องมีการออกแบบวิธีการสร้างวัสดุที่ใช้และอุปกรณ์ที่ติดตั้งมาให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปเช่น CGA (Compressed Gas Association) หรือ DIN ซึ่งเพียงพอที่จะใช้งานได้อย่างสะดวกและปลอดภัย
  • การเลือกสถานที่จัดเก็บแอมโมเนียที่เหมาะสมจะช่วยลดความรุนแรงและความเสียหายเนื่องจากการรั่วไหลหรือระเบิดได้ต้องพิจารณาติดตั้งไว้นอกอาคารบริเวณที่ไม่ถูกแสงแดดและความชื้นอากาศถ่ายเทได้ดีไม่มีแหล่งกำเนิดความร้อนหรือประกายไฟและเก็บให้ห่างจากสารที่อาจทำปฏิกิริยากับแอมโมเนียมีป้ายเตือนอันตรายและที่สำคัญจะต้องมีอุปกรณ์ดับเพลิงชนิดที่เหมาะสมติดตั้งไว้บริเวณใกล้เคียง
  • อุปกรณ์ต่างๆที่ใช้กับแอมโมเนียเช่นวาล์วข้อต่อและวาล์วสกัดต่างๆต้องทำด้วยโลหะที่เหมาะสมกับแอมโมเนียเท่านั้นเช่นเหล็กเหล็กเหนียวหรือสเตนเลสห้ามใช้ทองแดงหรือทองเหลืองกับแอมโมเนียโดยเด็ดขาด
  • ตรวจสอบภาชนะบรรจุระบบท่อและวาล์วของระบบแอมโมเนียเป็นระยะอย่างสม่ำเสมอและซ่อมบำรุงให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ตามปกติ
  • ในการปฏิบัติงานที่มีการใช้แอมโมเนียจะต้องปฏิบัติตามขั้นตอนการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัย (Safety Operation Procedures) โดยเคร่งครัดในทุกขั้นตอน
  • ผู้ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับแอมโมเนียต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสมเช่นชุดป้องกันอันตรายจากสารเคมีพร้อมทั้งอุปกรณ์ได้แก่ถุงมือหน้ากากอุปกรณ์ช่วยหายใจแล้วแต่ความจำเป็นทั้งในการระงับเหตุฉุกเฉินและในกรณีปฏิบัติงานตามปกติ
  • จัดให้มีการฝึกอบรมพนักงานที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้เกี่ยวกับอันตรายจากแอมโมเนียการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัยรวมทั้งการระงับเหตุฉุกเฉินที่เกิดจากแอมโมเนียทั้งนี้ให้มีการฝึกอบรมเป็นระยะอย่างสม่ำเสมอเพื่อเป็นการย้ำเตือนให้พนักงานตระหนักถึงความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับแอมโมเนีย
  • จัดเตรียมอุปกรณ์ระงับภัยในกรณีหกรั่วไหลหรือเกิดเพลิงไหม้เช่นระบบน้ำดับเพลิงและถังดับเพลิงรวมทั้งการจัดการน้ำเสียจากการระงับเหตุเป็นต้น
  • จัดทำแผนระงับเหตุฉุกเฉินแอมโมเนียรั่วไหล / เพลิงไหม้และฝึกซ้อมแผนเป็นประจำอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

 

 

การจัดการเมื่อเกิดการรั่วไหล

 

เนื่องจากคุณสมบัติของ "แอมโมเนีย" ละลายน้ำได้ดีหากเกิดการรั่วไหลที่วาล์วข้อต่อหรืออุปกรณ์ต่างๆสิ่งสำคัญในการจัดการการรั่วไหลก็คือพยายามฉีดน้ำให้เป็นฝอยอย่างหนาแน่นครอบคลุมเพื่อจับไอของแอมโมเนียที่ฟุ้งกระจายเป็นการสลายพิษแอมโมเนียและระวังไม่ให้ฉีดน้ำตรงจุดที่แอมโมเนียเหลวรั่วไหลอยู่พยายามเข้าไปปิดวาล์วหรือหยุดการรั่วไหลที่ต้นทางใหไ้ด้แต่ผู้ที่เข้าไปปฏิบัติการจะต้องสวม

 

ใส่ชุดป้องกันสารเคมีและอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลที่เหมาะสมเช่นหน้ากากป้องกันแอมโมเนียและเครื่องช่วยหายใจ (Self-Control Breathing Apparatus) ตลอดเวลาที่ปฏิบัติการ

 

 

การปฐมพยาบาลผู้ประสบเหตุ

 

เมื่อได้รับแอมโมเนียทางระบบหายใจ

  • เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปในบริเวณที่อากาศบริสุทธิ์
  • ถอดเสื้อให้หลวมและห่มผ้าให้ความอบอุ่นแก่ผู้ป่วย
  • เรียกรถพยาบาลพร้อมเครื่องให้ออกซิเจน
  • ถ้าปากและคอได้รับบาดเจ็บจากแอมโมเนียให้ผู้ป่วยดื่มน้ำช้าๆ
  • ถ้าปากและคอไม่ได้รับบาดเจ็บให้ผู้ป่วยดื่มชาหวานหรือกาแฟร้อน
  • ถ้าการหายใจล้มเหลวให้ทำการผายปอดทันที
  • ห้ามป้อนน้ำแก่ผู้ป่วยที่หมดสติโดยเด็ดขาด

 

แอมโมเนียสัมผัสตา

  • ให้ล้างตาด้วยน้ำยาล้างตาบอริก 2.5% หรือล้างด้วยน้ำสะอาดไม่น้อยกว่า 30 นาที
  • ไปพบแพทย์

 

แอมโมเนียสัมผัสผิวหนัง

  • ล้างด้วยน้ำสะอาดไม่น้อยกว่า 15 นาที
  • ใช้ผ้าชุบน้ำยาล้างตาบอริก 2.5% ปะคบบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ
  • ไปพบแพทย์

 

 

ข้อมูล : IQAir / icebusiness.net

 

相关文章:

相关推荐:

最新文章
热门文章

    0.0793s , 7998.7265625 kb

    Copyright © 2024 Powered by มีตังค์168 สล็อต、โปรโมชั่น สล็อต、เว็บ 777 สล็อต、เกมส์ สล็อต666,ปทุมธานีไลฟ์เจอร์  

    sitemap

    Top